วันพุธที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2555

E-Learning

สร้างบล็อก
1.การใช้บล็อกในการเรียนการสอน ตอนที่ 1 ฝึกสร้างบล็อกขั้นที่ 1 สร้างบล็อกด้วย gmail 
2. การใช้บล็อกในการเรียนการสอน ตอนที่ 2 การปรับ Layout เพื่อให้เว็บบล็อกของเราสามารถเพิ่ม gadget 
3.การใช้บล็อกในการเรียนการสอน ตอนที่ 3  การปรับแต่ง blogger
 4.การใช้บล็อกในการเรียนการสอน ตอนที่ 3 นำ facebook.com มาติดใน บล็อกของเรา
สร้างรายได้จาก Amazon.com
1.เริ่มสมัคร Amazon Affiliater เพื่อนำสินค้าของ Amazon มาขายในเว็บบล็อกของเรา





ชุมนุมนักประดิษฐ์
1. การสร้างหุ่นยนต์อัตโนมัติอย่างง่ายควบคุมโปรแกรมด้วยภาษาโลโก้
2.พื้นฐานอุปกรณ์ต่างๆด้าน Hardware ของ Robo-box หุ่นยนต์อัตโนมัติแบบง่าย 
3.

ฟิสิกส์ ม.4
- บทที่ 1 บทนำ (ปรับปรุงใหม่).pdf
- บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง (ปรับปรุงใหม่).pdf
- บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ (ปรับปรุงใหม่).pdf
- บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ (ปรับปรุงใหม่).pdf
- บทที่ 5 งานและพลังงาน.pdf
- บทที่ 6 โมเมนตัมและการดล.pdf
- บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน.pdf
- บทที่ 8 สภาพสมดุล.pdf

รวมมัลติมีเดีย ฟิสิกส์ ม.4
บทนำ
1 ความชันของกราฟและเส้นโค้ง.swf
2 ทดสอบการ plot ค่ากราฟวงกลม.swf
3 วงรี.swf
การเคลื่อนที่แนวตรง
1 การบวกเวกเตอร์ด้วยวิธีหางต่อหัว.swf
2.ภาพฉายของเวกเตอร์ 3 มิติ ในระนาบ 2 แกน.swf
3 กราฟระหว่างการกระจัดกับเวลา.swf
4.ลักษณะกราฟ s-t , v-t เมื่อ a-t เปลี่ยนแปลง.swf
5 การแปลงกราฟจาก s-t เป็น v-t และ a-t.swf
6.แบบฝึกหัดการแปลงกราฟการเคลื่อนที่.swf
7 การกระดอนของลูกบอลที่มีความยืดหยุ่นต่างกัน.swf
แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่
1 สามเหลี่ยมตรีโกณมิติ ค่า sin cos tan.swf
2 แรงที่ใช้ในการผลักวัตถุ.swf
3 แรงเสียดทานสถิตและแรงเสียดทานจลน์.swf
4 การไถลขึ้นตามพื้นเอียง.swf
6 กฎแรงดึงดูดระหว่างมวลของนิวตัน.swf
5 ระบบรอก.swf
7.แรงดึงดูดระหว่างดาว.swf
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
1 การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์.swf
2 แนวการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์พร้อมระบบพิกัด.swf
3 การเคลื่อนที่แบบวงกลม.swf
4 การเคลื่อนที่แบบมีความเร่งในหลายแนว.swf
5 การเคลื่อนที่ของลูกบอลบนพื้นที่หมุนเป็นวงกลม.swf
6 การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกของวัตถุติดสปริง.swf
7 คาบของการเคลื่อนที่แบบ SHM ของเพนดูลัม.swf
8 แรงกระทำกับการแกว่งชิงช้า.swf
9 เปรียบเทียบ SHM กับการเคลื่อนที่แบบวงกลม.swf
10 ตำแหน่งของการเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิก.swf
11 ความเร็วของการเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิก.swf
12 กราฟการกระจัดกับเวลาของการเคลื่อนที่แบบ SHM.swf
13 การเคลื่อนที่แบบ SHM อย่างมีแรงต้าน.swf

ฟิสิกส์ ม.5
ฟิสิกส์ ม.5
ของไหล
ความร้อน
คลื่นกล
เสียง
แสง

สื่อมัลติมีเดีย ฟิสิกส์ ม.5
การเกิดภาพจากกระจกและเลนส์

ฟิสิกส์ ม.6
ฟิสิกส์ ม.6
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้ากระแส
แม่เหล็กไฟฟ้า
ไฟฟ้ากระแสสลับ
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์นิวเคลียร์

บทเรียนออนไลน์วิชาฟิสิกส์
การวัด
การเคลื่อนที่แบบหนึ่งมิติ
กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
งานและพลังงาน
งานและพลังงาน
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์โมนิก
กลศาสตร์ของไหล
เทอร์โมไดนามิก
คลื่น
เวกเตอร์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจกไตล์
การเคลื่อนที่แบบวงกลม
กฎนิวตันกับชีวิตประจำวัน
การดลและโมเมนตัม
ความยืดหยุ่น
ปริมาณความร้อน
ปริมาณความร้อน
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้ากระแส
ศักย์ไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้า
ไฟฟ้ากระแสสลับ
ทฤษฎีสัมพันธภาพ
สนามไฟฟ้า
ตัวเก็บประจุและตัวต้านทาน
การเหนี่ยวนำ
กลศาสตร์ควอนตัม

ห้องทดลอง PHYSICS CYBERLAB
การเคลื่อนที่ด้วยความเร่งคงตัว
สมดุลของแรง 3 แรง

วันศุกร์ที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2555


เรื่อง การเครื่อนที่ในหนึ่งมิติและสองมิติ


เรื่อง การเครื่อนที่ในหนึ่งมิติและสองมิติ


-          ปริมาณทางฟิสิกส์


                    ปริมาณสเกลลาร์  เป็น ปริมาณบอกเฉพาะขนาดเท่านั้น เราก็เข้าใจได้  ตัวอย่างปริมาณสเกลลาร์ เช่น จำนวนนับของสิ่งของ  ระยะทาง  เวลา  พื้นที่  งาน  พลังงาน ความหนาแน่น   กระแสไฟฟ้า  เป็นต้น การการบวก  ลบ คูณ หรือ หาร ปริมาณสเกลลาร์    เราสามารถกระทำได้ตามหลักการทางคณิตศาสตร์ธรรมดาได้เลยครับ

ปริมาณเวกเตอร์  เป็น ปริมาณที่ต้องกำหนดทั้งขนาดและทิศทางจึงจะมีความหมาย   ตัวอย่างของปริมาณเวกเตอร์ เช่น    แรง  การกระจัด  ความเร็ว  ความเร่ง โมเมนตัม และปริมาณอื่น ๆ อีกหลายที่ต้องบอกทั้งขนาดและทิศทาง   เป็นต้น   เนื่องจากปริมาณเวกเตอร์มีทั้งขนาดและทิศทาง  การคำนวณจึง  ไม่สามารถดำเนินการบวก ลบ คูณ หารแบบธรรมดาได้   การบวก ลบ เวกเตอร์ เราทำได้หลาย ๆ วิธี   เช่น  การวาดรูป  การคำนวณโดยใช้สมการ-          ปริมาณเวกเตอร์
           ปริมาณเวกเตอร์  เป็น ปริมาณที่ต้องกำหนดทั้งขนาดและทิศทางจึงจะมีความหมาย   ตัวอย่างของปริมาณเวกเตอร์ เช่น    แรง  การกระจัด  ความเร็ว  ความเร่ง โมเมนตัม และปริมาณอื่น ๆ อีกหลายที่ต้องบอกทั้งขนาดและทิศทาง   เป็นต้น   เนื่องจากปริมาณเวกเตอร์มีทั้งขนาดและทิศทาง  การคำนวณจึง  ไม่สามารถดำเนินการบวก ลบ คูณ หารแบบธรรมดาได้   การบวก ลบ เวกเตอร์ เราทำได้หลาย ๆ วิธี   เช่น  การวาดรูป  การคำนวณโดยใช้สมการ


-          การเคลื่อนที่ของวัตถุ

      

ปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่จะเป็นพื้นฐานในการศึกษาเรื่องของการเคลื่อนที่ ซึ่งในการเคลื่อนที่จะต้องประกอบไปด้วยองค์ประกอบ ส่วน
วัตถุที่เคลื่อนที่ จะหมายจึงวัตถุที่มีลักษณะเป็นของแข็งที่คงรูปทรงอยู่ได้
ผู้สังเกต เป็นผู้ที่ศึกษาวัตถุที่เคลื่อนที่ โดยผู้สังเกตจะต้องอยู่นอกวัตถุที่เคลื่อนที่
จุดอ้างอิง การเคลื่อนที่ของวัตถุจะต้องมีการเปลี่ยนตำแหน่งของวัตถุดังนั้นเราจะต้องมีจุดอ้างอิง
เพื่อบอกตำแหน่งของวัตถุเมื่อเวลาผ่านไป
-          ระยะทาง

1. ระยะทาง (Distance) การเคลื่อนที่ของวัตถุจะเริ่มนับตั้งแต่จุดเริ่มต้นที่เราสังเกตเป็นจุดอ้างอิงแล้ววัดระยะทางตามแนวทางที่วัตถุเคลื่อนที่
ไปตามแนวทางการเคลื่อนที่ของวัตถุ
 
-          การกระจัด
การกระจัด (displacement) คือ เส้นตรงที่เชื่อมโยงระหว่างจุดเริ่มต้น และจุดสุด ท้ายของการเคลื่อนที่เป็นปริมาณเวกเตอร์ คือ ต้องคำนึงถึงทิศทางด้วย มีหน่วยเป็นเมตร โดยทั่วไปเขียนแบบเว็กเตอร์เป็น S 


-          อัตราเร็ว
อัตราเร็ว (สัญลักษณ์: vคืออัตราของ การเคลื่อนที่ หรือ อัตราการเปลี่ยนแปลงของตำแหน่งก็ได้ หลายครั้งมักเขียนในรูป ระยะทาง d ที่เคลื่อนที่ไปต่อ หน่อย ของ เวลา t
อัตราเร็ว เป็นปริมาณเสเกลาร์ที่มีมิติเป็นระยะทาง/เวลาปริมาณเวกเตอร์ที่เทียบเท่ากับอัตราเร็วคือความเ็ร็ว อัตราเร็ววัดในหน่วยเชิงกายภาพเดียวกับความเร็ว แต่อัตราเร็วไม่มีองค์ประกอบของทิศทางแบบที่ความเร็วมี อัตราเร็วจึงเป็นองค์ประกอบส่วนที่เป็นขนาดของความเร็ว


-          ความเร็ว

ความเร็ว คืออัตราการเปลี่ยนแปลงของตำแหน่งต่อหน่วยเวลา มีหน่วยเป็นเมตรต่อวินาที (m/s) ในหน่วยเอสไอ ความเร็วเป็นปริมาณเวกเตอร์ซึ่งประกอบด้วยอัตราเร็วและทิศทาง ขนาดของความเร็วคืออัตราเร็วซึ่งเป็นปริมาณสเกลาร์ตัวอย่างเช่น "เมตรต่อวินาที" เป็นอัตราเร็ว ในขณะที่ "เมตรต่อวินาทีไปทางทิศตะวันออก" เป็นความเร็ว ความเร็วเฉลี่ย v ของวัตถุที่เคลื่อนที่ไปด้วยการกระจัดขนาดหนึ่ง x ในช่วงเวลาหนึ่ง t สามารถอธิบายได้ด้วยสูตรนี้
\mathbf{\bar{v}} = \frac{\Delta \mathbf{x}}{\Delta t}

-          อัตราเร่ง

          อัตราเร่ง 
หมายถึง การเพิ่มความเร็ว จากความเร็วหนึ่ง ไปยังอีกความเร็วหนึ่งที่สูงขึ้น เช่น อัตราเร่งจากความเร็ว 40 กิโลเมตร/ชั่วโมง ไปยังความเร็ว 80 กิโลเมตร/ชั่วโมง หรือตามมาตรฐานการทดสอบที่นิยมกัน คือ จากจุดหยุดนิ่งไปยังความเร็ว 100 กิโลเมตร/ชั่วโมง 


-          ความเร่ง
            ความเร่ง (Accelerationหมายถึง การเปลี่ยนแปลงความเร็วต่อเวลา นั่นคือถ้าที่เวลา วัตถุมีความเร็ว  และที่เวลาก่อนนั้นคือ วัตถุมีความเร็ว ถือว่าความเร่งเฉลี่ยใน ช่วงเวลา ถึงเวลา คือ

                                   

ความเร่งขณะใดขณะหนึ่ง (
Instantaneous accelerationโดยใช้สัญลักษณ์ คือ

                              

          หากเขียนกราฟของความเร็วกับเวลา  ความชันของเส้นสัมผัสที่จุดต่าง ๆ ก็คือความเร่งของ วัตถุที่จุดนั้นๆ ในทำนองเดียวกันกับที่ความเร็วเป็นความชันของ กราฟระหว่างตำแหน่งกับเวลา  สำหรับคำว่า  อัตราเร่ง ก็จะไม่คิดทิศทางในลักษณะ เดียวกับอัตราเร็ว


-          การหาความชันของกราฟ

ความชันจะหาได้จาก
1.
สมการที่กำหนดมาเเล้ว
2.
จุด จุดที่เส้นกราฟผ่าน
จาก1.เช่น y = 2x+1ได้ความชัน ระยะตัดเเกน y 1ความชันได้มาจากหน้า ถ้าไม่มีเลยเช่น y = x+9เเสดงว่ามการนี้มีความชัน 1จาก 2สมมติมีจุดตัดมาให้ จุดเช่น
(3,6)
เเละ(4,8)หาได้ทั้งความชันเเละสมการโดย
หาความชันได้จากการนำค่า จากพิกัดที่กำหนดคือพจน์หลังของทั้ง 2พิกัด มาลบกันเเล้วนำค่าทั้งหมดที่ได้หารด้วย ค่าของ ในพิกัดทั้งสอง
มาลบกัน ตามตัวอย่างได้
(8 - 6) / (4-3) 
ได้ ความชันได้ 2


-          กราฟความสัมพันธ์ระหว่าง s-t, v-t และ a-t

               กราฟ (Graph)


v

s

a
การหาความหมายของกราฟและความสัมพันธ์ของกราฟ




ความเร่ง > 0



ความเร็วคงที่                      

                                                                                  


t

t

t
 

                                                                 

v

s

a
        ระยะทางเพิ่มขึ้นคงที่      
2. .      
                                                                             ความเร็วเพิ่มคงที่                ความเร่ง > 0

t

t
 



a

v

s
        ระยะทางเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว

ระยะทางเพิ่มเล็กน้อยเมื่อเวลาเพิ่มขึ้น

ความเร่ง < 0

ความเร็วลดคงที่           
3

t

t
 

                                                    

s

t
                                                                                           
   

a

v
4

ความเร่ง < 0
 

t

t
                                                                         

t
 


การแปลความหมายจากกราฟ ให้พิจารณา กรณี
                1. ความชัน (slope)
                2. พื้นที่ใต้กราฟ

การวิเคราะห์กราฟ S-T


s
                                    1. ความชัน =       
                             slope             v =      

t
                                              slope = v 
                           



s
                                    2. พื้นที่ใต้กราฟ  (st) 
                     พื้นที่ใต้กราฟ                   ไม่มีความหมาย
                  

t
                            

 

การวิเคราะห์กราฟ V-T


v
                             1. ความชัน =  v/t 
                                             a = v/t
                                      slope = a

t
                         
     

v
                                  2. พื้นที่ใต้กราฟ  (vt) 
                                             ระยะทาง  (vt)
                                    พื้นที่ใต้กราฟ ระยะทาง

t
                            

การวิเคราะห์กราฟ A-T


a
                                    1. ความชัน = a/t 
                                                         = ไม่มีความหมาย
                  

t
                                       

a
                                                        2. พื้นที่ใต้กราฟ  =   (at) 
                                                                      v  = (at)
                                         พื้นที่ใต้กราฟ     =   ความเร็ว  

t
                             








Ex1  จากกราฟ v-t จงเปลี่ยนเป็นกราฟ a-t และ s-t 

v
                                                                         

t
 

                                                                                                                                                          

t

t
                                                                   
   

s

t

v
 Ex2  จากกราฟ a-t จงเปลี่ยนเป็นกราฟ v-t และ s-t 
           a                                                                  

t
 

                                   

t
                                                                        

Ex3 ลูกบอลลูกหนึ่งถูกโยนขึ้นไปในแนวดิ่งแล้วตกกลับสู่ที่เดิม จงเขียนกราฟ v-t และ  a-t 
           v                                                                  a
 


                                                          t                                                                              t
 


 Ex4  จากรูปโยนวัตถุขึ้นไปในแนวดิ่งดังกราฟ v-t จงหา    v(m/s)      

50      
     กความเร่ง                                                
     ขนานเท่าใดวัตถุถึงตำแหน่งสูงสุด                

5

t(s)
                                                                                              

วิธีทำ

ความเร่งจากกราฟ v - t = slope
                            
    ความเร่งมีค่าเท่ากับ    ตอบ
วิธีทำ
วัตถุจะตกถึงพื้นเมื่อเวลาผ่านไป 5  วินาทีตอบ












-          การหาความเร็วและความเร่งจากกราฟ

§    ความเร่ง คือ ความเร็วที่เปลี่ยนไปในหนึ่งหน่วยเวลา หรือ อัตราการเปลี่ยนแปลงความเร็วเป็นปริมาณ เวคเตอร์
   vec{a} = {Delta{vec{v}}}/{Delta{t}}
หรือ
                                                                       vec{a} = {vec{v_2} - vec{v_1}}/{{t_2} - {t_1}}                                                                                                                                                                  
         เราสามารถหาค่าของความเร่งได้จากความชัน(slope) 
ถ้าข้อมูลให้เป็นกราฟ ความเร็ว กับ เวลา (v-t) 
ความเร่งขณะหนึง คือ ความเร่งในช่วงเวลาสั้นๆในกรณีที่เราหาความเร่ง เมื่อ เข้าใกล้ศูนย์  ความเร่งขณะนั้นเราเรียกว่า ความเร่งขณะหนึ่ง    ถ้าข้อมูลเป็นกราฟ  หาได้จาก slope ของเส้นสัมผัส
http://student.kru-ff.com/40102/wp-content/uploads/2011/08/ff1-300x164.jpg
                                                                                                                                                                                                            
ความเร่งเฉลี่ย คือ อัตราส่วนระหว่างความเร็วที่เปลี่ยนไปทั้งหมดกับช่วงเวลาที่เปลี่ยนความเร็วนั้น

กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความเร่ง (a) กับเวลา (t)

http://student.kru-ff.com/40102/wp-content/uploads/2011/08/aa1-300x190.png
 สามารถหาความเร็วได้โดย
Delta{v} = พื้นที่ใต้กราฟ
{v_2} - {v_1} = พื้นที่ใต้กราฟ 

ข้อสังเกต
วัตถุที่เคลื่อนที่ด้วยความเร่ง วัตถุจะเคลื่นที่เร็วขึ้นเมื่อเวลาผ่าน
วัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่ วัตถุเคลื่อนที่ด้วยเร็วคงตัวตลอดการเคลื่อนที่
วัตถุเคลื่อนที่ด้วยความหน่วง วัตถุเคลื่อนที่ช้าลงเมื่อเวลาผ่านไป

ตัวอย่างการคำนวณ
                  1 อนุภาคหนึ่งมีความเร็วของอนุภาคสัมพันธ์กับเวลาดังรูป จงหาความเร่งช่องเวลา 2-6 วินาที
                     คิดวิเคราะห์ : กราฟระหว่งความเร็ว (v) กับเวลา (t)หาความเร่งได้จากความชันของกราฟ
http://student.kru-ff.com/40102/wp-content/uploads/2011/08/ss-300x212.png
กราฟระหว่างความเร็ว (v) กับเวลา (t) หาความเร่งได้จากความชันของกราฟ
                                       วิธีทำ   จาก ความเร่ง = ความชันของกราฟช่วง 2 – 6 วินาที
                                                           vec{a}{{v_2} - {v_1}}/{{t_2} - {t_1}}
                                                              = {4 -2}/{6 - 2}
                                                              = 0.5 เมตร/วินาที2




-          กราฟความสัมพันธ์ระหว่างความเร็ว(v) และ เวลา (t)
การเปลี่ยกราฟระหว่างการกระจัด(S) -เวลา(t)ความเร็ว(V ) - เวลา(t)และ
ความเร่ง(a) - เวลา(t)
ต้องทราบความสัมพันธ์ดังนี้
1. พิจารณาจากความสัมพันธ์ของปริมาณ การกระจัด ความเร็ว และความเร่ง 
               1. กราฟระหว่าง การกระจัด(S) -เวลา(t) ความชันของกราฟนี้คือ ความเร็ว
                            ถ้าเปลี่ยนเป็นกราฟ ความเร็ว(V ) -เวลา(t) ก็เปลี่ยนจากความชัน
               2. กราฟระหว่าง ความเร็ว(V ) -เวลา(t) ความชันของกราฟนี้คือ ความเร่ง
                            ถ้าเปลี่ยนเป็นกราฟ ความเร่ง(a) -เวลา(t) ก็เปลี่ยนจากความชัน


2. ความชันของกราฟ 

http://www.streesmutprakan.ac.th/teacher/sci/Physnan/motion/slo1.jpg


  http://www.streesmutprakan.ac.th/teacher/sci/Physnan/motion/slo2.jpg


http://www.streesmutprakan.ac.th/teacher/sci/Physnan/motion/slo3.jpg
3. พิจารณานิยาม  

http://www.streesmutprakan.ac.th/teacher/sci/Physnan/motion/slo4.jpg

http://www.streesmutprakan.ac.th/teacher/sci/Physnan/motion/slo5.jpg


        ตัวอย่างการเปลี่ยนแกนกราฟ   


1.             การเคลื่อนที่ของวัตถุแนวเส้นตรงเขียนเป็นกราฟระหว่าง  s - t  ดังรูป   จงเขียนกราฟระหว่าง  v - t 
 http://www.streesmutprakan.ac.th/teacher/sci/Physnan/motion/motion33_04.gif
       V = ความชัน จากกราฟความชันคงที่ แสดงว่าความเร็วคงที่
         ดังนั้นเมื่อเขียนเป็นกราฟ v-t  จะได้กราฟขนานกับแกน tดังรูป
  http://www.streesmutprakan.ac.th/teacher/sci/Physnan/motion/motion33_4.gif
2.              การเคลื่อนที่ของวัตถุแนวเส้นตรงเขียนเป็นกราฟระหว่าง  V - t  ดังรูป   จงเขียนกราฟระหว่าง a - t 
http://www.streesmutprakan.ac.th/teacher/sci/Physnan/motion/motion33_4.gif      
a = ความชัน จากกราฟความชันเท่ากับศูนย์(0) แสดงว่าความเร่งเป็นศูนย์(0)         
ดังนั้นเมื่อเขียนเป็นกราฟ v-t  จะได้กราฟขนานกับแกน ดังรูป
  http://www.streesmutprakan.ac.th/teacher/sci/Physnan/motion/motion33_5.gif
กรณี กราฟที่กำหนดให้ข้อมูลเป็นตัวเลขและสามารถหาความชันได้
นักเรียนต้องหาความชันของกราฟก่อน เช่น กราฟระหว่าง การกระจัด-เวลา
ความเร็วคือความชันของกราฟ สามารถหาขนาดของความเร็วได้แล้วจึงค่อยเขียนกราฟระหว่าง ความเร็ว - เวลา ดังตัวอย่างข้อที่ 3   


3. การเคลื่อนที่ของวัตถุแนวเส้นตรงเขียนเป็นกราฟระหว่าง  s - t  ดังรูป
      จงเขียนกราฟระหว่าง  v - t  จากการเคลื่อนที่นี้
      http://www.streesmutprakan.ac.th/teacher/sci/Physnan/motion/motion33_6.jpg

http://www.streesmutprakan.ac.th/teacher/sci/Physnan/motion/motion33_7.jpg
  
     เขียนกราฟ ความเร็ว – เวลา  ได้ดังรูป
http://www.streesmutprakan.ac.th/teacher/sci/Physnan/motion/motion33_8.jpg


ทดสอบเพื่อความเข้าใจ
1.
วัตถุเคลื่อนที่แนวเส้นตรงสามารถเขียนเป็นกราฟการกระจัดกับเวลาเป็นดังรูป นักเรียน
       
ออกแบบและเขียนกราฟความเร็วกับเวลา
http://www.streesmutprakan.ac.th/teacher/sci/Physnan/motion/ex/ex1_411.jpg


http://www.streesmutprakan.ac.th/teacher/sci/Physnan/motion/RARROW1.jpg เฉลย


2.การเคลื่อนที่ของวัตถุแนวเส้นตรงเขียนเป็นกราฟระหว่าง  v - t  ดังรูป จงเขียนกราฟระหว่าง  a - tจากการเคลื่อนที่นี้
http://www.streesmutprakan.ac.th/teacher/sci/Physnan/motion/motion33_9.jpg



-          สมการการเคลื่อนที่ในแนวตรงด้วยความเร่งคงที่


เมื่อวัตถุเคลื่อนที่ตามแนวระดับด้วยความเร่งคงที่
             เมื่อพิจารณาวัตถุที่เคลื่อนที่ด้วยความเร่งคงที่ และเคลื่อนที่ออกไปด้วยความเร็วต้น u  ที่เวลา t=0 และมีความเร็วสุดท้าย ที่เวลา  t  เราสามารถคำนวณเกี่ยวกับการเคลื่อนที่แนวตรงตามแนวระดับด้วยความเร่งคงที่ โดยมีสมการหรือสูตรที่ใช้ในการคำนวน  สูตรดังนี้
                                                1.  v  =  u  +  at                
เมื่อ  u = ความเร็วต้น
                                                2.  s  =  http://202.143.139.229/~boonlai/webdata/images/straigth%20motion_htm_eqn1.gif                       v = ความเร็วปลาย
                                                3.  s  = ut + http://202.143.139.229/~boonlai/webdata/images/straigth%20motion_htm_eqn2.gifathttp://202.143.139.229/~boonlai/webdata/images/straigth%20motion_htm_eqn3.gif                      a = ความเร่ง
                                                4.  vhttp://202.143.139.229/~boonlai/webdata/images/straigth%20motion_htm_eqn4.gif = uhttp://202.143.139.229/~boonlai/webdata/images/straigth%20motion_htm_eqn5.gif + 2as                        t = เวลา
                                                                                                s = การกระจัด
gman25.gif
               ข้อควรจำ
               1. 
ทิศของ เป็นบวกเสมอ ปริมาณใดที่มีทิศตรงข้ามกับ จะมีเครื่องหมายเป็น ลบ
               2. 
การกระจัดต้องวัดจากจุดเริ่มต้นและพิจารณาประกอบทิศของ ด้วย


-          สมการการเคลื่อนที่แนวดิ่งด้วยความเร่งคงที่

คือว่าจุดประสงค์ที่ผมได้ทำการเขียนบทความนี้ว่า คือผมก็ไม่ได้เก่งฟิสิกซ์อะไรมากมาย เพียงแต่ว่าเรื่องนี้เหมือนเป็นพื้นฐานในการคำนวณหาการเคลื่อนที่แบบโปรเจกไตล์นะครับ ถ้าเกิดว่าเพื่อนๆหรือน้องๆที่ใจในเรื่องของการเคลื่อนที่ในแนวเส้นโค้งนั้น จะต้องมีพื้นฐานของการเคลื่อนที่แบบแนวระดับ กับ การเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง มาเป็นอย่างยิ่ง อันเนื่องมาจากว่าผมเองก็ไม่ค่อยแม่นเรื่องนี้ ดังนั้นครับ ข้อความทั้งหมดนี้อาจมีข้อผิดพลาดนะครับ ไม่เหมาะสำหรับท่านเซียนทั้งหลายนะครับ ซึ่งก่อนที่เีราจะไปดูเรื่องการเคลื่อนที่ในแนวโค้งนะครับ เรามาศึกษาการเคลื่อนที่ของวัตถุในแนวดิ่งก่อนเลยนะครับ
การเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง ก็พบได้หลายเหตุการณ์ไม่ว่าจะเป็น การตกลงมาของวัตถุใดๆจากจุดๆหนึ่งๆ การตกของวัตถุ ไม่ว่าจะเป็นนวตันถูกแอปเปิลตกใส่หัวกบาล หลายเหตุการณ์ที่เป็นการเคลื่อนที่แบบแนวดิ่งครับ
การเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง มีหลายประการคือ การที่โลกใช้แรงดึงดูด หรือ แรงโน้มถ่วง ที่เราพูดกันว่าแรงดึงดูดของโลก มีค่า g = 9.8m /s^2 แต่ว่านักวิทยาศาสตร์ให้เป็นที่รู้กันว่าถ้าโจทย์ไม่ได้กำหนดมาให้ให้คำนวณเป็น g = 1o m /s^2
ประเภทของการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง มีสองประเภทคือ
§   วัตถุตกแบบอิสระ โดยมีความเร่งคงตัว
§   วัตถุตกแบบไม่อิสระหรือมีความเร็วต้น ซึ่ง ไม่เท่ากับ 0
โดยสิ่งที่เพื่อนๆต้องจำก็คือว่าในกรณีที่เขาบอกว่าโยนวัตถจะพยว่ามีแรงมากระทำคือ ไม่เท่ากับ และถ้าโยนขึ้นไปเท่ากับว่าไปต้านแรงโน้มถ่วงของโลก ทำให้ค่า g  ที่แทนในสูตรมีค่า ติดลบ (-) อีกเงือนไขถ้าโยนบนเขา คือระยะทางที่โยนขึ้นไปบนเขา มีค่าน้อยกว่าการกระจัดที่ตกลงสู่พื้น จะทำให้ได้ว่าการกระจัดทั้งหมดเป็นลบ (-)
มาดูสูตรการคำนวณการหาระยะทาง หาความเร็วต้น ความเร็วปลาย เวลา การกระจัด โดยสูตรต่อไปนี้ครับ
v = u + gt อันนี้ใช้กรณีที่หา ความเร็วปลาย ต้น เวลา
v^2 = u^2 + 2gs อันนี้ไว้หาการกระจัด
s = (u + v)t/2 หาการกระจัดเช่นกัน
อันนี้ยอดฮิตมากเลยครับทุกท่าน s = ut + 1/2g t^2

-          การคำนวณการเคลื่อนที่ของวัตถุภายใต้แรงดึงดูดของโลก

กาลิเลโอ ได้ทำการทดลองให้เห็นว่า วัตถุที่ตกลงสู่พื้นโลกอย่างอิสระ จะเคลื่อนที่ภายใต้แรงดึงดูดของโลก ต่อมานิวตันสังเกตุเห็นว่า ทำไมดวงจันทร์ไม่ลอยหลุดออกไปจากโลก ทำไมผลแอปเปิ้ลจึงตกลงสู่พื้นดิน นิวตันได้ทำการศึกษาค้นคว้าต่อ จนในที่สุดก็สามารถพิสูจน์ในเรื่องกฎแห่งการดึงดูง สสาร โดยโลกและดวงจันทร์ต่างมีแรงดึงดูดซึ่งกันและ กัน แต่เนื่องจากดวงจันทร์โคจรรอบโลก จึงมีแรงหนีสู่ศูนย์กลางซึ่งต่อต้านแรงดึงดูดไว้ ทำให้ดวงจันทร์ลอยโคจรรอบโลกได้ แต่ผลแอปเปิ้ลกับโลกก็มีแรงดึงดูดระหว่างกัน ผลแอปเปิ้ลเมื่อหลุดจากขั้วจึงเคลื่อนที่อิสระตามแรงดึงดูดนั้น

การตกอย่างอิสระนี้ วัตถุจะเคลื่อนตัวด้วยความเร่ง ซึ่งเรียกว่า Gravitational acceleration หรือ g ซึ่งมีค่าประมาณ 9.8 m/shttp://web.ku.ac.th/schoolnet/snet3/kung/vertic_move/2.gifการเคลื่อนที่ในแนวดิ่งนี้จึงเป็นไปตาม กฎการเคลื่อนที่ ดังนี้
http://web.ku.ac.th/schoolnet/snet3/kung/vertic_move/eq1.gif
http://web.ku.ac.th/schoolnet/snet3/kung/vertic_move/exe.gif
ตัวอย่างเช่น ขว้างหินจากชั้น ของตึกขึ้นไปในแนวดิ่ง ด้วยความเร็ว 10 m/s ณ จุดที่มีความสูง14 เมตร จงหาว่าก้อนหินใช้เวลาอยู่ในอากาศนานเท่าใดจึง ตกถึงพื้น และความเร็วขณะถึงพื้นเป็นเท่าใด
ระยะทาง


จากการคำนวณหาความเร็วสุดท้าย
แทนค่าได้


เมื่อทราบความเร็วต้น และความเร็วสุดท้าย



ความเร็วต้นมีทิศเป็นลบ
ความเร็วปลายมีทิศเป็นบวก
อัตราเร่ง มีทิศตรงข้ามกับทิศทางที่ขว้าง จึงมีค่าเป็นลบ
http://web.ku.ac.th/schoolnet/snet3/kung/vertic_move/eq4.gif
http://web.ku.ac.th/schoolnet/snet3/kung/vertic_move/eq2.gif

vhttp://web.ku.ac.th/schoolnet/snet3/kung/vertic_move/2.gif = uhttp://web.ku.ac.th/schoolnet/snet3/kung/vertic_move/2.gif + 2gs
vhttp://web.ku.ac.th/schoolnet/snet3/kung/vertic_move/2.gif = (10)http://web.ku.ac.th/schoolnet/snet3/kung/vertic_move/2.gif + 2(-9.81) x (-14) = 374.7
v = 19.36

http://web.ku.ac.th/schoolnet/snet3/kung/vertic_move/eq3.gif



-          ความเร็วสัมพัทธ์(Relative Velocity)
ความเร็วสัมพัทธ์ (Relative Velocity)
               การจะบอกว่าวัตถุอยู่ที่ตำแหน่งใดให้ชัดเจน  และเป็นที่เข้าใจกันได้เป็นอย่างดี  ย่อมต้องมีจุดอ้างอิงและแกนอ้างอิง นั่นคือ มีระบบโคออร์ดิเนตอ้างอิง ถ้ามีผู้สังเกตสองคน  ต่างใช้ระบบโคออร์ดิเนตของตนเองและเคลื่อนที่สัมพัทธ์กัน นั่นคือ ระบบหนึ่งมีความเร็ว เมื่อเทียบกับอีกระบบหนึ่ง  สิ่งนี้เป็นไปได้เสมอ  เมื่อเป็นเช่นนี้  วัตถุที่เห็นอยู่นิ่งในระบบหนึ่ง ก็จะปรากฎในอีกระบบหนึ่ง  ตัวอย่างเช่น  ขณะที่รถไฟวิ่งด้วยความเร็วคงตัวผ่านชานชาลา แห่งหนึ่งผู้โดยสารในรถไฟทำของหล่นจากมือลงพื้น  ผู้สังเกตในรถไฟเห็นวัตถุนั้นตกลง ด้วยความเร่งในแนวดิ่ง  ทั้งนี้เทียบกับตัวเองในรถไฟ ส่วนผู้ที่อยู่บนชานชาลานอกรถไฟ  มองผ่านหน้าต่างเห็นว่าวัตถุตกลงเป็นวิถีโค้งแบบโพรเจกไทล์ตัวอย่างของการสังเกตที่
เกี่ยวกับความเร็วสัมพัทธ์เช่น   ขณะที่ฝนตก  ให้เม็ดฝนมีขนาดที่ทำให้ตกด้วยความเร็ว
สม่ำเสมอ 10 เมตรต่อวินาที  และตกลงในแนวดิ่งในอากาศนิ่ง   (สำหรับผุ้สังเกตอยู่นิ่ง) สำหรับผู้สังเกตที่อยู่ในรถยนต์วิ่งด้วยความเร็ว 36 กิโลเมตรต่อชั่วโมง (10 เมตรต่อวินาที) จะเห็นเม็ดฝนตกอย่างไร ซึ่งความเร็วของเม็ดฝนที่เห็นจะเป็นความเร็วสัมพัทธ์กับผู้สังเกตที่
เคลื่อนที่นั่นเอง  สิ่งที่ลอยอยู่นิ่งในอากาศข้างหน้าของผู้สังเกตที่ออยู่ในรถ  ผู้สังเกตย่อมเห็น สิ่งนั้นเคลื่อนที่เข้าหาด้วยความเร็วมีขนาดเท่าที่รถวิ่ง  ซึ่งหมายถึงความเร็วในทิศตรงกันข้าม กับการเคลื่อนที่ของตนเอง  สิ่งที่อยู่นิ่งด้านข้าง  หรือหลังของผู้สังเกตก็จะปรากฎมีความเร็ว
เช่นเดียวกัน  เพราะฉะนั้นผู้สังเกตจึงจะเห็นเม็ดฝนมีความเร็วเดิม บวกด้วยความเร็วมีทิศตรงกันข้ามกับความเร็วของตนเองแต่ขนาดเท่ากัน http://www.obeclms.com/lesson/01_Motion/images/clip_image002_0017.gif  เมื่อให้
http://www.obeclms.com/lesson/01_Motion/images/clip_image004_0015.gif  เป็นความเร็วของผู้สังเกต (Observer) ให้ http://www.obeclms.com/lesson/01_Motion/images/clip_image006_0009.gif http://www.obeclms.com/lesson/01_Motion/images/clip_image008_0020.gifสามารถแสดงทิศทางได้ดังรูป
http://www.obeclms.com/lesson/01_Motion/images/clip_image009_0000.gif


-          การเคลื่อนที่ในสองมิติและสามมิติ


                                          



การเคลื่อนที่ในสองมิติ และสามมิติ           การเคลื่อนที่ในสองมิติสามารถแยกคิดแบบการเคลื่อนที่หนึ่งมิติที่ตั้งฉากกัน และสามารถ นำการคิดสองทางนั้นมาประกอบกันหรือนำมารวมกันแบบเวกเตอร์ได้ ตามแนวของแกนสามแกนที่ ตั้งฉากซึ่งกัน  คือ  ตามแกนของระบบโคออร์ดิเนต XYZ สำหรับการเคลื่อนที่สามมิติ และตามแกน ของระบบโคออร์ดิเนต XY สำหรับการเคลื่อน ที่สองมิติ ตำแหน่งของวัตถุในสองมิติที่จุด ที่เวลา http://www.obeclms.com/lesson/01_Motion/images/clip_image002_0014.gif กำหนดได้ด้วยค่า http://www.obeclms.com/lesson/01_Motion/images/clip_image004_0014.gifและ http://www.obeclms.com/lesson/01_Motion/images/clip_image006_0008.gifทางแกน และแกน ตามลำดับ และตำแหน่งของวัตถุนั้นที่เวลา http://www.obeclms.com/lesson/01_Motion/images/clip_image008_0017.gif (จุด Q) สมมติ
ให้เป็น http://www.obeclms.com/lesson/01_Motion/images/clip_image010_0008.gifและ http://www.obeclms.com/lesson/01_Motion/images/clip_image012_0005.gifการกระจัดหรือการเปลี่ยนแปลงตำแหน่งระหว่างสองจุดนั้นให้เป็น ไปตามเส้นโค้งดังรูป
                  http://www.obeclms.com/lesson/01_Motion/images/clip_image017.gif
                         รูป แสดงตำแหน่งและการกระจัดของวัตถุในช่วงเวลา http://www.obeclms.com/lesson/01_Motion/images/clip_image002_0015.gifกับ http://www.obeclms.com/lesson/01_Motion/images/clip_image008_0018.gif
ความเร็วเฉลี่ยสำหรับการเคลื่อนที่ทาง คือ
http://www.obeclms.com/lesson/01_Motion/images/clip_image019.gif
และความเร็วเฉลี่ยสำหรับการเคลื่อนที่ทาง 
คือ
http://www.obeclms.com/lesson/01_Motion/images/clip_image021.gif
เมื่อ http://www.obeclms.com/lesson/01_Motion/images/clip_image002_0016.gifกับ http://www.obeclms.com/lesson/01_Motion/images/clip_image008_0019.gifเข้าใกล้กันมาก ๆ ความเร็วเฉลี่ยก็จะเป็นความเร็วขณะใดขณะหนึ่งเช่นเดียวกับการคิดในหนึ่งมิติ



-          เวกเตอร์ตำแหน่งและเวกเตอร์ความเร็วในสองมิติ

เวกเตอร์ตำแหน่งและเวกเตอร์ความเร็วในสองมิติ
                 ดังตัวอย่างการเคลื่อนที่ที่ผ่านมา อาจคิดว่า เวกเตอร์\displaystyle \mathord{\buildrel{\lower3pt\hbox{$\scriptscriptstyle\rightharpoonup$}} \over R} _1 ป็นเวกเตอร์ตำแหน่ง (position vector) ที่เวลา \displaystyle t_1  สำหรับวัตถุที่มีค่าทาง เป็น \displaystyle x_1 และมีค่า เป็น\displaystyle y_1 เวกเตอร์ \displaystyle \mathord{\buildrel{\lower3pt\hbox{$\scriptscriptstyle\rightharpoonup$}} \over R} _1  จะมีขนาดและทิศชัดเจนเทียบกับจุดกำเนิดของโคออร์ดิเนต เมื่อเวลาเปลี่ยนเป็น \displaystyle t_2  ตำแหน่งของวัตถุเปลี่ยนไปเป็นเวกเตอร์\displaystyle \mathord{\buildrel{\lower3pt\hbox{$\scriptscriptstyle\rightharpoonup$}} <br />
\over R} _2
                
องค์ประกอบทาง ของเวกเตอร์ \displaystyle \mathord{\buildrel{\lower3pt\hbox{$\scriptscriptstyle\rightharpoonup$}} \over R} _1  คือ \displaystyle x_1  องค์ประกอบทาง ของเวกเตอร์ \displaystyle \mathord{\buildrel{\lower3pt\hbox{$\scriptscriptstyle\rightharpoonup$}} \over R} _1  คือ ค่า\displaystyle y_1  องค์ประกอบทาง ของเวกเตอร์ \displaystyle \mathord{\buildrel{\lower3pt\hbox{$\scriptscriptstyle\rightharpoonup$}} \over R} _2  คือ \displaystyle x_2  และองค์ประกอบทาง ของเวกเตอร์\displaystyle \mathord{\buildrel{\lower3pt\hbox{$\scriptscriptstyle\rightharpoonup$}} \over R} _2 คือ\displaystyle y_2
                  
ความเร็วเฉลี่ยสามารถเขียนในรูปเวกเตอร์ได้เป็น

\displaystyle \mathord{\buildrel{\lower3pt\hbox{$\scriptscriptstyle\rightharpoonup$}} \over v} _{av} = \frac{{\mathord{\buildrel{\lower3pt\hbox{$\scriptscriptstyle\rightharpoonup$}} \over R} _2 - \mathord{\buildrel{\lower3pt\hbox{$\scriptscriptstyle\rightharpoonup$}} \over R} _1 }}{{t_2 - t_1 }}          

-          ตัวอย่างโจทย์ เรื่องการเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติและสองมิติ





1 ) นาย ก. เดินทางจาก ไป ใช้เวลา 18 วินาที จากนั้นเดินต่อไปยัง ดังรูป ใช้เวลา 12 วินาที จงหาขนาดของความเร็วเฉลี่ยของนาย ก ตลอดการเดินทางดังนี้
73574
0.67 m/s
0.75 m/s
0.97 m/s
1.0 m/s
2 ) รถยนต์คันหนึ่งแล่นด้วยความเร็ว 20 เมตร/วินาที ไปทางทิศเหนือ แล้วเลี้ยวไปทางทิศตะวันออกด้วยขนาความเร็วเท่าเดิม ในเวลา วินาที จงหาความเร็วของรถที่เปลี่ยนไป หลังจากเลี้ยวรถไปแล้ว
displaystyle 20 sqrt2 เมตร/วินาที ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ
40 เมตร/วินาที ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ
displaystyle 20 sqrt2 เมตร/วินาที ทิศตะวันออกเฉียงใต้
40 เมตร/วินาที ทิศตะวันออกเฉียงใต้

3 ) จากข้อ จงหาความเร่งของรถคันดังกล่าว ขณะเลี้ยวรถ
displaystyle 4 sqrt2 เมตร/วินาที ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ
displaystyle 4 sqrt2 เมตร/วินาที ทิศตะวันออกเฉียงใต้
เมตร/วินาที ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ
เมตร/วินาที ทิศตะวันออกเฉียงใต้
4 ) ถ้าการเคลื่อนที่ของวัตถุที่ลากแถบกระดาษซึ่งเครื่องเคาะสัญญาณที่เคาะทุก ๆ displaystyle frac{1}{50} วินาที ทำให้เกิดจุดดังรูป จากการสังเกตจุดเหล่านี้จะบอกคร่าว ๆ ว่าความเร่งเป็นอย่างไร
73577
สม่ำเสมอ
เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ
ลดลงเรื่อย ๆ
เพิ่มแล้วลด

5 ) จากการศึกษาการเคลื่อนที่ของวัตถุในแนวเส้นตรงโดยใช้เครื่องมือเคาะสัญญาณเวลาได้จุดเป็นแถบกระดาษวัดดังรูป โดยที่ระยะห่างระหว่างจุดจะมีช่วงเวลาเท่ากัน กราฟรูปใดที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างความเร่งของวัตถุกับเวลา
73578
73579
73580
73581
73582
6 ) ถ้ากราฟระหว่างความเร็วของวัตถุ ที่เวลา ต่าง ๆ เป็นดังรูป กราฟของความเร่ง กับเวลา ต่าง ๆ จะเป็นตามรูปใด
73583
73584
73585
73586
73587

7 ) กราฟของตำแหน่งวัตถุบนแนวแกน กับเวลา เป็นดังรูป ช่วงเวลาใดหรือตำแหน่งใดที่วัตถุไม่มีความเร่ง
73588
ช่วง OA
ช่วง BC
ที่จุด B
ที่จุด C
8 ) จากกราฟระหว่างระยะทางของการกระจัดในแนวเส้นตรงกับเวลาดังรูป จงหาความเร็วเฉลี่ยระหว่างเวลา วินาที ถึง 25 วินาที
73589
15 m/s
5 m/s
-5 m/s
0 m/s

9 ) จากกราฟความเร็ว - เวลา ซึ่งแสดงการเดินทางในช่วงเวลา A, B, C และ จงหาระยะทางที่เคลื่อนที่ไปได้ใน 0.5 ชั่วโมง
73590
18.5 กิโลเมตร
19.5 กิโลเมตร
20.0 กิโลเมตร
40.0 กิโลเมตร
10 ) จากข้อ 9. กราฟความเร็ว - เวลา จงหาอัตราเร็วเฉลี่ยใน 0.2 ชั่วโมงแรก
37.5 กิโลเมตรต่อชั่วโมง
25.0 กิโลเมตรต่อชั่วโมง
15.0 กิโลเมตรต่อชั่วโมง
12.8 กิโลเมตรต่อชั่วโมง

youtube

youtube

http://youtu.be/xqyNJQmy8d8